ประคำเครื่องยศ (ประคำแสดงยศ) หนึ่งในเครื่องราชอิสริยศไทย
ยุครัตนโกสินทร์ สัญลักษณ์ของ อำนาจ วาสนา บารมี และเป็นเครื่องเตือนสติให้ผู้ปกครองอยู่ในศีลในธรรมเป็นประคำหุ้มเงิน หรือ บุเงิน ลักษณะงาน
เช่น เดียวกับพระบุเงิน พระบุทองคำ โดยแบ่งระดับชั้น โดยประคำทองคำ 108 เม็ด
เป็นเครื่องยศขุนนางที่พระราชทานในสมัยรัตนโกสินทร์ ให้กับระดับชั้น สมเด็จเจ้าพระยา
และ พระยาผู้มีศักดินา 10,000 ไร่ ส่วนประคำเงิน 108 เม็ด
โดยพระราชทานให้กับขุนนางระดับชั้น
- เจ้าพระยาสัญญาบัฎ(จารึกแผ่นกระดาษ)
- เจ้าพระยาหิรัญบัฏ(จารึกแผ่นเงิน)
- เจ้าพระยาสุพรรณบัฏ(เจ้าพระยาอัครมหาเสนาบดี)(จารึกแผ่นทอง)
ประคำเครื่องยศ 108 เม็ด
เป็นเครื่องยศขุนนางและเจ้าประเทศราชมาแต่เดิม อธิเช่น พระยาประจันตประเทศธานี
เจ้าเมืองสกลนคร และ พระปทุมเทวาภิบาล เจ้าเมืองหนองคาย, เจ้าพระยารามราฆพ ,จอมพล เจ้าพระยาสุรศักดิ์มนตรี
(เจิม แสง-ชูโต) ก็ใส่ประคำเครื่องยศแต่ไม่ได้พระราชทานให้กับขุนนางทุกคน ให้เฉพาะผู้ที่ทำคุณงามความดีให้กับแผ่นดิน
Cr.ข้อมูล วิกีพีเดีย
|