พระเครื่องทั้งหมด 964 ชิ้น 
     ตะกร้าพระเครื่อง : (0) 
ประเภทพระเครื่อง
ภาพวาดผลงานศิลปิน,รูปถ่ายเก่าซีเปีย (130) พระกริ่ง รูปหล่อ เหรียญหล่อ (81) เหรียญพระพุทธ เหรียญเกจิ เหรียญที่ระลึก (35) เครื่องราง (182) พระปิดตาเนื้อโลหะ,ผงคลุกรักษ์ (35) พระเนื้อผง ดิน ว่าน (59) พระบูชา (104) หนังสือพระ (1) ศาสตราวุธโบราณ (43) อนุรักษ์พระกรุ (13) พระเครื่องเรื่องเล่าตำนานสายเหนียว (7)
เมนูช่วยเหลือ
วิธีการสั่งซื้อ
วิธีการชำระเงิน
คำถาม-ตอบ
เงื่อนไขการสั่งซื้อ
เกี่ยวกับเรา
ติดต่อเรา
พระเครื่องที่บูชาแล้ว
พระใหม่ 100 รายการ
โปรโมชั่นพิเศษ
สถิติสินค้า
พระเครื่องทั้งหมด 964 ชิ้น
พระเครื่องถูกจองแล้ว 7 ชิ้น
พระเครื่องบูชาแล้ว 2 ชิ้น
พระเครื่องคงเหลือ 681 ชิ้น
บทความน่าอ่าน
ถูกจริงแท้ แท้หรือเปล่า?
ต่อพระน่าเกลียดไปมั้ย?
ไม่มีกล้องห้ามดู ไปไกล ๆ
ทำไมไม่รับ? พกง.เก็บเงินปลายทาง
ประวัติผู้สร้างพระเครื่อง
หลวงพ่อจวน วัดหนองสุ่ม
หลวงปู่ครีพ วัดสมถะ
หลวงพ่อโต วัดเนิน
หลวงปู่ภู่ วัดนอก
หลวงพ่อรวย วัดท่าเรือแกลง
หลวงพ่อหิน วัดหนองสนม
หลวงพ่อขัน วัดนกกระจาบ
หลวงพ่อพุธ วัดป่าสาลวัน
หลวงพ่อสนิท วัดลำบัวลอย
หลวงปู่กงมา วัดดอยธรรมเจดีย์
หลวงปู่เจี๊ยะ วัดภูริทัตตปฏิปทาราม
หลวงปู่เผือก วัดสาลีโขภิตาราม
หลวงปู่เหรียญ วัดบางระโหง
หลวงปู่เหมือน วัดโรงหีบ
หลวงพ่อเส็ง วัดประจันตคาม
ประวัติผู้สร้างทั้งหมด
อัตราแลกเปลี่ยน
ราคาน้ำมัน
ชำระผ่านธนาคาร
 ไทยพาณิชย์ 136-232797-4  กสิกร 735-2-43729-2  กรุงเทพ 009-006097-1  กรุงไทย 086-0-22285-3
 
 
รายละเอียดเพิ่มเติม

พระเครื่อง ศักดิ์ตลิ่งชัน


พระเครื่อง อีซี่อมูเล็ต


 
หลวงพ่อจันทร์ วัดทุ่งเฟื้อ
ข้อมูลประวัติ พ่อท่านจันทร์ จันทร์ สุเมโธ วัดทุ่งเฟื้อ นครศรีธรรมราช

          พ่อท่านจันทร์ สุเมโธ วัดทุ่งเฟื้อ ตามประวัติ หลวงพ่อจันทร์ ท่านเป็นผู้มีวิชาอาคมแก่กล้า เครื่องราง ควายธนู พ่อท่านจันทร์ ถือเป็นควายธนูหนึ่งเดียวของเมืองใต้

ประวัติหลวงพ่อจันทร์ สุเมโธ 
          เกิดวันพฤหัสบดี ที่ 18 พฤษภาคม พ.ศ. 2453 ตรงกับวันขึ้น 15 ค่ำ เดือน6ปีชวด ณ บ้านหลาแก้ว อ.หัวไทร จ.นครศรีธรรมราช บิดาชื่อนายเขียว มารดาชื่อนางพุดแก้ว นามสกุล ทองแก้ว หลวงพ่อจันทร์ ท่านเป็นบุตรชายคนโต มีพี่น้อง4คน มีอาชีพทำสวนทำไร่ ตอนเยาว์วัยได้ศึกษาในสำนักของ พระครูสังฆรักษ์ วัดหลาแก้ว ได้ศึกษาอักขระสมัยและวิชาอาคมต่างๆ เมื่อเข้าสู่วัยรุ่นก็ศึกษาพุทธาเวทจากตำราต่างๆ มีวิชาอาคมพอตัวเลยทีเดียว นักเลงหัวไม้ต่างกลัวท่าน เนื่องจากท่านหนังเหนียวยิ่งนัก เมื่ออายุครบ 20ปี ก็ได้อุปสมบทที่วัดศาลาแก้ว มีพระครูพนังศรีวิสุทธิพุทธิภักดี เป็นพระอุปัชฌาย์ อาจารย์เห้ง วัดศาลามีแก้ว เป็นพระกรรมาวาจารย์ หลวงพ่อจันทร์ ได้ฉายาว่า "สุเมโธ"

อักขระปรากฏแก่ พ่อท่านจันทร์
          คราวหนึ่ง พ่อท่านจันทร์ สุเมโธ ท่านเดินทางธุดงค์อยู่ในป่าช้าจังหวัดพัทลุงขณะที่ท่านเข้าพักแขวนกลดไว้กับกิ่งไม้ในป่าช้าวัดแห่งหนึ่งบริเวณใกล้ริมคลองป่าเรียบร้อยแล้ว “หลวงพ่อจันทร์”ท่านก็เดินจงกลมคลายความเหน็ดเหนื่อยพอสมควรแล้ว ท่านก็นั่งสมาธิภาวนาในกลด เพราะเป็นช่วงพลบค่ำพอดี

ความอัศจรรย์เกิดขึ้นแก่จิต
          ขณะที่นั่งสมาธิจนจิตค่อยสงบลงแล้วสติสัมปชัญญะสมบูรณ์แจ่มใสมาก “หลวงพ่อจันทร์”ท่านได้เล่าให้บรรดาศิษย์ฟังภายหลังว่าจิตสงบดีแล้วเหตุการณ์การอันอัศจรรย์ก็ปรากฏขึ้น ทำให้เห็นอักขระแบบภาษาขอมลอยขึ้นเด่นชัด จากริมแม่น้ำลำป่า ไปอยู่ในท่ามกลางอากาศก็ได้กำหนดอักขระเหล่านั้นมาพิจารณา แล้วทำอุบายเพ่งเป็นกสิณ โดยอาศัยอักขระโบราณที่ปรากฏมาเป็นนิมิตรหมายแห่งการบำเพ็ญเพ่งเป็นองค์กสิณยิ่งนานวัน ความสงบยิ่งแนบแน่นตามลำดับ

พยัคฆามาเยี่ยม
          เมื่อความมืดมาปกคลุมไปทั่วลุ่มน้ำลำป่า จังหวัดพัทลุง บริเวณภายนอกกลดอากาศเย็นเป็นพิเศษ ขณะ"พ่อท่านจันทร์"และหมู่คณะของท่านนั่งกำหนดจิตอยู่ ทันใดนั้นความเงียบก็ถูกทำลายด้วยอำนาจเสือโคร่งตัวโต เสียงร้องของมันขู่ข่มขวัญ ทุกคนที่ได้ยิน มันเดินไปวนมาข้างๆกลดเพราะได้กลิ่นมนุษย์ พระธุดงค์ดังกล่าวได้ปฏิบัติตามคำเตือนให้อยู่ในความสงบ นั่งปฏิบัติกันโดยปกติ เสือเหมือนมาทดสอบจิตใจเมื่อพระธุดงค์ทุดท่านมีมานะอดทนที่แน่วแน่ พร้อมทั้งแผ่เมตตาไปยังเสือตัวนั้นในที่สุดเสือโคร่งก็สิ้นความพยายามผละหายกลับไปในป่าลึก

          หลวงพ่อจันทร์ พบดินแดนสงบ
จากการเดินธุดงค์ไปทั่วทั้ง 14จังหวัดภาคใต้ ต่อมาในปี พ.ศ.2491 พ่อท่านจันทร์ สุเมโธ ท่านได้จำพรรษาที่ วัดทุ่งเฟื้อ เพราะเล็งเห็นว่าเหมาะแก่การเจริญวิปัสสนาสมาธิเป็นอย่างยิ่ง จากอดีต วัดทุ่งเฟื้อ ที่เคยมีสภาพทรุดโทรม ก็ได้รับการพัฒนาเปิดป่า เปลี่ยนเป็นศาลาโรงธรรม หอระฆัง พระอุโบสถและกุฏิสงฆ์ขึ้นมาตามลำดับ  ต่อมา พ่อท่านจันทร์ ก็ได้รับแต่งตั้งเป็นเจ้าอาวาส วัดทุ่งเฟื้อ อย่างสมบูรณ์ พระสงฆ์ต่างจังหวัดและชาวบ้านต่างมาฝากตัวเป็นศิษย์ท่านเป็นจำนวนมาก เพื่อศึกษาตำราพิชัยสงคราม โดยเฉพาะอย่างยิ่งในเรื่องวิชาคงกระพันชาตรี แคล้วคลาด มหาอุด แต่งคนเลิศดีนักแลฯ ถือเป็นวิชาสุดยอดทั้งนั้นและ หลวงพ่อจันทร์ ก็เคยเดินทางไปศึกษาวิชากับ อาจารย์เอียดดำ วัดในเขียว อีกด้วย

พุทธคุณพระเครื่อง “พ่อท่านจันทร์”
          ในเรื่องอิทธิมงคลวัตถุของพ่อท่านจันทร์ นั้นมีอานุภาพดีเด่นในทางพุทธคุณสูง อานุภาพสูงส่งจากประสบการณ์ผู้นำติดตัวไปใช้ก็มีมากมาย จึงเป็นที่หวงแหนของผู้ที่ครอบครองไว้ สำหรับความรู้สึกของศิษยานุศิษย์ที่ได้เรียนวิชาคงกระพัน วิชาชาตรี วิชาแคล้วคลาด วิชามหาอุด วิชาแต่งคน และรับมอบอิทธิวัตถุมงคลของหลวงพ่อจันทร์ พูดได้ว่ายอดเยี่ยมเลยทีเดียว

หลวงพ่อจันทร์ มรณภาพตามกำหนด
          กฎแห่งไตรลักษณ์มีอย่างไรความจริงก็ย่อมปรากฏเช่นนั้น หลวงพ่อจันทร์ ท่านเป็นพระผู้ปฏิบัติจนเกิดฌานจนแก่กล้า สามารถรู้เหตุการณ์ต่างๆแม้แต่วันตาย ดังบันทึกของคณะศิษย์วัดทุ่งเฟื้อ ทุกๆสาย คืนวันที่ 9 พฤศจิกายน พ.ศ.2532 ท่านเข้าสมาธิภาวนาตั้งแต่หัวค่ำด้วยอิริยาบถอันสงบ แม้อาการป่วยกระเสาะกระแสะมาตลอดท่านก็ไม่ ทอดธุระเรื่องภาวนา ตลอดคืนจนได้เวลา 05.00น. อันเป็น เวลาใกล้สว่าง หลวงพ่อจันทร์ ท่านได้ให้บรรดาศิษย์ช่วยกันพยุงกายท่านให้ลุกขึ้น เพราะท่านนั่งสมาธิมาตั้งแต่หัวค่ำ เรี่ยวแรงก็น้อยลง เมื่อพระสมุห์พิงค์ ขึ้นแล้ว ท่านได้เปลี่ยน สบง จีวร สังฆาฏิ ใหม่หมดเสร็จแล้วท่านได้บอกให้ลูกศิษย์ประคองให้นั่งลงทำสมาธิต่อไปหลังจากฉันอาหารเช้าแล้ว หลวงพ่อจันทร์ท่านก็หลับตาลง และได้สั่งให้พระสมุห์พิงค์ ผู้เป็นศิษย์จุดเทียนไว้เบื้องหน้าหนึ่งเล่ม พร้อมทั้งไม่ให้ใครมาส่งเสียงบริเวณนั้นจะทำสมาธิครั้งสุดท้ายหลังจากกล่าวแก่ศิษย์ทุกคนแล้ว หลวงพ่อจันทร์ ท่านก็หลับตาลงเป็นครั้งสุดท้ายกำหนดจิตเข้าสู่สมาธิ เป็นลำดับเวลา 08.30น.บรรดาลูกศิษย์ ที่เฝ้าดูอาการของ พ่อท่านจันทร์ เห็นผิดสังเกต เพราะศีรษะของท่านโน้นเอียงลงมาเล็กน้อย ซึ่งปกติท่านจะนั่งตัวตรงไม่ไหวติง ศิษย์ที่อยู่ใกล้ชิดท่านย่อมรู้ดี จึงทราบว่า พ่อท่านจันทร์ สุเมโธ วัดทุ่งเฟื้อ ท่านได้มรณภาพแล้ว วันที่ 10 พฤศจิกายน 2532

ชาวบ้านที่ศรัทธา หลวงพ่อจันทร์

ร่างกายไม่เน่าเปื่อย
การนั่งมรณภาพของ หลวงพ่อจันทร์ เมื่อวันที่10 พฤศจิกายน 2532 ได้ลือกระฉ่อนไปทั่วสารทิศเมืองนครศรีธรรมราช สังขารของท่านไม่เน่าเปื่อย สังขารของท่านแข็งดุจหินแม้เวลาล่วงเลยมาหลายปี

 
พระเครื่องอื่น ๆ
ไม่พบสินค้าในฐานข้อมูล หมวดหมู่นี้
 
ตะกร้าพระเครื่อง

ดูตะกร้าพระเครื่อง
แจ้งการชำระเงิน
ตรวจสอบวันจัดส่ง
สถานะการส่งพระเครื่อง

พระเครื่องแนะนำ

เสือหลวงพ่อปาน วัดบางเหี้ย ศิลป์วัดกลาง จ.สมุทรปราการ  

พระโชว์ บาท


สิงห์หน้าโบสถ์หลวงปู่ยิ้ม วัดหนองบัว จ.กาญจนบุรี  

พระโชว์ บาท


ตะกรุดโสฬสมงคลหลวงปู่เอี่ยม วัดสะพานสูง ตะกั่วถ้ำชา จ.นนทบุรี  

พระโชว์ บาท


เสือหลวงพ่อปาน วัดบางเหี้ย พิมพ์พิเศษ(หน้าหมา) จ.สมุทรปราการ  

พระโชว์ บาท


กะลาราหูหลวงพ่อน้อย วัดศีรษะทอง จ.นครปฐม  

พระโชว์ บาท


เบี้ยแก้หลวงปู่รอด วัดนายโรง ลูกที่ 2  

พระโชว์ บาท


หนุมานหลวงปู่บุญ วัดกลางบางแก้ว จ.นครปฐม  

พระโชว์ บาท


เสือหลวงปู่บุญ วัดกลางบางแก้ว จ.นครปฐม  

พระโชว์ บาท


เบี้ยแก้หลวงปู่รอด วัดนายโรง ลูกที่ 1  

พระโชว์ บาท


พระเครื่องแนะนำทั้งหมด
เปิดโลกพระเครื่อง
เปิดโลกสมเด็จ
เปิดโลกพระกรุ
ทำเนียบสมเด็จพระสังฆราชไทย
ตำนานพระพุทธรูป
หลักการดูพระเบื้องต้น
รายนานเกจิอาจารย์
อ่านบทความทั้งหมด