พระเครื่องทั้งหมด 982 ชิ้น 
     ตะกร้าพระเครื่อง : (0) 
ประเภทพระเครื่อง
ภาพวาดผลงานศิลปิน,รูปถ่ายเก่าซีเปีย (135) พระกริ่ง รูปหล่อ เหรียญหล่อ (81) เหรียญพระพุทธ เหรียญเกจิ เหรียญที่ระลึก (34) เครื่องราง (188) พระปิดตาเนื้อโลหะ,ผงคลุกรักษ์ (36) พระเนื้อผง ดิน ว่าน (60) พระบูชา (103) หนังสือพระ (1) ศาสตราวุธโบราณ (45) อนุรักษ์พระกรุ (13) พระเครื่องเรื่องเล่าตำนานสายเหนียว (7)
เมนูช่วยเหลือ
วิธีการสั่งซื้อ
วิธีการชำระเงิน
คำถาม-ตอบ
เงื่อนไขการสั่งซื้อ
เกี่ยวกับเรา
ติดต่อเรา
พระเครื่องที่บูชาแล้ว
พระใหม่ 100 รายการ
โปรโมชั่นพิเศษ
สถิติสินค้า
พระเครื่องทั้งหมด 982 ชิ้น
พระเครื่องถูกจองแล้ว 7 ชิ้น
พระเครื่องบูชาแล้ว 2 ชิ้น
พระเครื่องคงเหลือ 694 ชิ้น
บทความน่าอ่าน
ถูกจริงแท้ แท้หรือเปล่า?
ต่อพระน่าเกลียดไปมั้ย?
ไม่มีกล้องห้ามดู ไปไกล ๆ
ทำไมไม่รับ? พกง.เก็บเงินปลายทาง
ประวัติผู้สร้างพระเครื่อง
หลวงพ่อจวน วัดหนองสุ่ม
หลวงปู่ครีพ วัดสมถะ
หลวงพ่อโต วัดเนิน
หลวงปู่ภู่ วัดนอก
หลวงพ่อรวย วัดท่าเรือแกลง
หลวงพ่อหิน วัดหนองสนม
หลวงพ่อขัน วัดนกกระจาบ
หลวงพ่อพุธ วัดป่าสาลวัน
หลวงพ่อสนิท วัดลำบัวลอย
หลวงปู่กงมา วัดดอยธรรมเจดีย์
หลวงปู่เจี๊ยะ วัดภูริทัตตปฏิปทาราม
หลวงปู่เผือก วัดสาลีโขภิตาราม
หลวงปู่เหรียญ วัดบางระโหง
หลวงปู่เหมือน วัดโรงหีบ
หลวงพ่อเส็ง วัดประจันตคาม
ประวัติผู้สร้างทั้งหมด
อัตราแลกเปลี่ยน
ราคาน้ำมัน
ชำระผ่านธนาคาร
 ไทยพาณิชย์ 136-232797-4  กสิกร 735-2-43729-2  กรุงเทพ 009-006097-1  กรุงไทย 086-0-22285-3
 
 
รายละเอียดเพิ่มเติม

พระเครื่อง ศักดิ์ตลิ่งชัน


พระเครื่อง อีซี่อมูเล็ต


 
หลวงปู่เพิ่ม วัดกลางบางแก้ว
หลวงปู่เพิ่ม วัดกลางบางแก้ว จ.นครปฐม

ข้อมูลประวัติ หลวงปู่เพิ่ม ปุญญาสโน วัดกลางบางแก้ว  จ.นครปฐม

เกิด                      วันศุกร์ที่ 28 มกราคม 2429 ตรงกับข้น 5 ค่ำ เดือน 3 ปีจอ  เป็นบุตรของ นายเกิด  นางจน  พงษ์อำพร

อุปสมบท               ณ พัทธสีมาวัดกลางบางแก้ว วันที่ 12 กรกฎาคม 2450 

มรณภาพ               ปี 2526

พระพุทธวิถีนายก (เพิ่ม ปุญญวสโน) นามเดิมว่า เพิ่ม นามสกุล พงษ์อัมพร โดยบิดาชื่อ เกิด โยมมารดาชื่อ วรรณ ชาตะ ณ วันศุกร์ ขึ้น 5 ค่ำ เดือน 3 ปีจอ จุลศักราช 1248 ตรงกับวันที่ 28 เดือน มกราคม พุทธศักราช 2429 ณ ตำบลไทยวาส หมู่ที่ 3 อำเภอนครชัยศรี จังหวัดนครปฐม บรรพชาเป็นสามเณรเมื่ออายุ 8 ขวบ สืบต่อจนถึงเมื่ออายุครบได้อุปสมบทเมื่อวันที่ 12 กรกฎาคม พุทธศักราช 2450 อายุ 21 ปี ณ พัทธสีมาวัดกลางบางแก้ว สมเด็จพระสังฆราช (แพ ติสฺสเทโว) ครั้งพระองค์ยังดำรงสมณศักดิ์เป็น สมเด็จพระวันรัต วัดสุทัศน์เทพวราราม เป็นพระอุปัชฌาย์ พระอธิการจอม เจ้าอาวาสวัดตุ๊กตา อำเภอนครชัยศรี จังหวัดนครปฐม เป็นพระกรรมวาจารย์ พระครูทักษิณานุกิจ (ผัน) วัดสรรเพชญ์ อำเภอสามพราน จังหวัดนครปฐม เป็นพระอนุสาวนาจารย์

เมื่อท่านได้อุปสมบทแล้ว ก็ได้เล่าเรียนธรรมวินัยอยู่ที่วัดกลางบางแก้วตลอดมา และได้สั่งสอนกุลบุตรผู้บวชในภายหลังตามสมควร อาศัยอำนาจคุณความดีแห่งการปฏิบัติของท่านเป็นเหตุให้เกียรติคุณปรากฏแจ่ม แจ้งแก่คฤหัสถ์ชนทั้งหลาย มีการได้รับยกย่องเป็นลำดับมา คือ 
วันที่ 5 กุมภาพันธ์ พุทธศักราช 2481 ได้รับแต่งตั้งเป็น เจ้าอาวาสปกครอง วัดกลางบางแก้ว อำเภอนครชัยศรี จังหวัดนครปฐม

วันที่ 4 ธันวาคม พุทธศักราช 2482 ได้รับตราตั้ง เป็นพระอุปัชฌาย์ ในเขตอำเภอนครชัยศรี จังหวัดนครปฐม

วันที่ 8 เมษายน พุทธศักราช 2483 ได้รับแต่งตั้ง เป็นเจ้าคณะอำเภอนครชัยศรี จังหวัดนครปฐม

วันที่ 1 มีนาคม พุทธศักราช 2489 ได้รับพระราช ทานสมณศักดิ์ที่พระครู มีราชทินนามว่า "พระครูพุทธวิถี นายก"

วันที่ 5 ธันวาคม พุทธศักราช 2495 ได้รับเลื่อน สมณศักดิ์เป็นพระครูชั้นเอก ในราชทินนามเดิม

วันที่ 5 ธันวาคม พุทธศักราช 2503 ได้รับพระราช ทานเลื่อนสมณศักดิ์เป็นพระราชาคณะชั้นสามัญมีราชทินนามว่า "พระ พุทธวิถีนายก"

ปีพุทธศักราช 2520 เนื่องจากความชราภาพมากแล้ว ทางคณะสงฆ์จึงยกขึ้นเป็นกิตติมศักดิ์

มรณภาพด้วยโรคชราด้วยอาการสงบ วันที่ 6 มกราคม พุทธศักราช 2526 เวลาใกล้รุ่ง (05.50 น.) รวมชนมายุได้ 97 ปี พรรษาที่ 77

ตลอดระยะเวลาที่ผ่านมาได้ดำรงสมณเพศอย่างเคร่งครัดด้วยศี ลาจารวัตรเป็นที่เลื่อมใสศรัทธาแก่ประชาชนทั่วไป เสียสละตนเพื่อประโยชน์แก่สังคม สร้างคุณอเนกแก่กุลบุตร กุลธิดา ด้วยการก่อสร้างและทำนุบำรุงการศึกษาให้เจริญงอกงามไพบูลย์ นับว่าท่านได้สร้างคุณงามความดีไว้ไพศาลยิ่ง เมื่อกาลที่ท่านต้องจากไปก็ยังความเศร้าสลดแก่บรรดาสานุศิษย์และประชาชนที่ เคารพนับถือท่านอย่างยิ่ง 
 
วัตถุมงคลที่ได้รับความนิยม

                วัตถุมงคล ท่านได้สร้างวัตถุมงคงเอาไว้มากมายหลายชนิดด้วยกัน รวมถึงเมื่อท่านยังมีชีวิตอยู่  ท่านก็เป็นผู้ช่วยเหลือในการสร้างวัตถุมงคลต่าง ๆ ให้เป็นอย่างดี  จึงเป็นที่ไว้วางใจของหลวงพ่อบุญ  ผู้เป็นอาจารย์ยิ่งนัก  สำหรับวัตถุมงคลที่เป็นที่นิยมแพร่หลาย คือ เบี้ยแก้  ซึ่งสร้างเป็นแบบฉบับโดดเด่นของวัดฯ โดยเฉพาะ            

พุทธคุณที่เล่าสืบทอดกันมา

                พุทธคุณในเหรียญรุ่นนี้เด่นทาง   เมตตามหานิยม    

 
พระเครื่องอื่น ๆ
ไม่พบสินค้าในฐานข้อมูล หมวดหมู่นี้
 
ตะกร้าพระเครื่อง

ดูตะกร้าพระเครื่อง
แจ้งการชำระเงิน
ตรวจสอบวันจัดส่ง
สถานะการส่งพระเครื่อง

พระเครื่องแนะนำ

เสือหลวงพ่อปาน วัดบางเหี้ย ศิลป์วัดกลาง จ.สมุทรปราการ  

พระโชว์ บาท


สิงห์หน้าโบสถ์หลวงปู่ยิ้ม วัดหนองบัว จ.กาญจนบุรี  

พระโชว์ บาท


ตะกรุดโสฬสมงคลหลวงปู่เอี่ยม วัดสะพานสูง ตะกั่วถ้ำชา จ.นนทบุรี  

พระโชว์ บาท


เสือหลวงพ่อปาน วัดบางเหี้ย พิมพ์พิเศษ(หน้าหมา) จ.สมุทรปราการ  

พระโชว์ บาท


กะลาราหูหลวงพ่อน้อย วัดศีรษะทอง จ.นครปฐม  

พระโชว์ บาท


เบี้ยแก้หลวงปู่รอด วัดนายโรง ลูกที่ 2  

พระโชว์ บาท


หนุมานหลวงปู่บุญ วัดกลางบางแก้ว จ.นครปฐม  

พระโชว์ บาท


เสือหลวงปู่บุญ วัดกลางบางแก้ว จ.นครปฐม  

พระโชว์ บาท


เบี้ยแก้หลวงปู่รอด วัดนายโรง ลูกที่ 1  

พระโชว์ บาท


พระเครื่องแนะนำทั้งหมด
เปิดโลกพระเครื่อง
เปิดโลกสมเด็จ
เปิดโลกพระกรุ
ทำเนียบสมเด็จพระสังฆราชไทย
ตำนานพระพุทธรูป
หลักการดูพระเบื้องต้น
รายนานเกจิอาจารย์
อ่านบทความทั้งหมด