พระเครื่องทั้งหมด 966 ชิ้น 
     ตะกร้าพระเครื่อง : (0) 
ประเภทพระเครื่อง
ภาพวาดผลงานศิลปิน,รูปถ่ายเก่าซีเปีย (131) พระกริ่ง รูปหล่อ เหรียญหล่อ (81) เหรียญพระพุทธ เหรียญเกจิ เหรียญที่ระลึก (35) เครื่องราง (182) พระปิดตาเนื้อโลหะ,ผงคลุกรักษ์ (35) พระเนื้อผง ดิน ว่าน (59) พระบูชา (104) หนังสือพระ (1) ศาสตราวุธโบราณ (44) อนุรักษ์พระกรุ (13) พระเครื่องเรื่องเล่าตำนานสายเหนียว (7)
เมนูช่วยเหลือ
วิธีการสั่งซื้อ
วิธีการชำระเงิน
คำถาม-ตอบ
เงื่อนไขการสั่งซื้อ
เกี่ยวกับเรา
ติดต่อเรา
พระเครื่องที่บูชาแล้ว
พระใหม่ 100 รายการ
โปรโมชั่นพิเศษ
สถิติสินค้า
พระเครื่องทั้งหมด 966 ชิ้น
พระเครื่องถูกจองแล้ว 7 ชิ้น
พระเครื่องบูชาแล้ว 2 ชิ้น
พระเครื่องคงเหลือ 683 ชิ้น
บทความน่าอ่าน
ถูกจริงแท้ แท้หรือเปล่า?
ต่อพระน่าเกลียดไปมั้ย?
ไม่มีกล้องห้ามดู ไปไกล ๆ
ทำไมไม่รับ? พกง.เก็บเงินปลายทาง
ประวัติผู้สร้างพระเครื่อง
หลวงพ่อจวน วัดหนองสุ่ม
หลวงปู่ครีพ วัดสมถะ
หลวงพ่อโต วัดเนิน
หลวงปู่ภู่ วัดนอก
หลวงพ่อรวย วัดท่าเรือแกลง
หลวงพ่อหิน วัดหนองสนม
หลวงพ่อขัน วัดนกกระจาบ
หลวงพ่อพุธ วัดป่าสาลวัน
หลวงพ่อสนิท วัดลำบัวลอย
หลวงปู่กงมา วัดดอยธรรมเจดีย์
หลวงปู่เจี๊ยะ วัดภูริทัตตปฏิปทาราม
หลวงปู่เผือก วัดสาลีโขภิตาราม
หลวงปู่เหรียญ วัดบางระโหง
หลวงปู่เหมือน วัดโรงหีบ
หลวงพ่อเส็ง วัดประจันตคาม
ประวัติผู้สร้างทั้งหมด
อัตราแลกเปลี่ยน
ราคาน้ำมัน
ชำระผ่านธนาคาร
 ไทยพาณิชย์ 136-232797-4  กสิกร 735-2-43729-2  กรุงเทพ 009-006097-1  กรุงไทย 086-0-22285-3
 
 
รายละเอียดเพิ่มเติม

พระเครื่อง ศักดิ์ตลิ่งชัน


พระเครื่อง อีซี่อมูเล็ต


 
หลวงปู่จันทร์ วัดบ้านยาง
ข้อมูลประวัติ หลวงปู่จันทร์ (พระครูธรรมสุนทร) วัดบ้านยาง ราชบุรี

เกิด                       ปีพ.ศ.2419

มรณภาพ               วันที่ 1 พฤศจิกายน พ.ศ.2494

รวมสิริอายุ              75 ปี 55 พรรษา

          “หลวงปู่จันทร์ สุภัทรโท” อดีตเจ้าอาวาสวัดบ้านโคกยาว ต.ดงดวล อ.นาดูน จ.มหาสารคาม และอดีตเจ้าอาวาสวัดป่าศรีสุโพธิ์วนาราม อ.ยางสีสุราช จ.มหาสารคาม เป็นพระเกจิอาจารย์รุ่นเก่าอีกรูปหนึ่ง ที่มีชื่อเสียงโด่งดังในพื้นที่จังหวัดมหาสารคาม หลวงปู่จันทร์ เป็นพระที่มีเมตตาธรรมสูงวิทยาคมแก่กล้าสืบทอดปฏิปทาอันงดงาม และไสยเวทย์สายเขมรมาจากพระครูสีหราช วัดบ้านแก่นท้าว ซึ่งเป็นบูรพาจารย์รุ่นเก่าของภาคอีสาน

อัตโนประวัติ

          หลวงปู่จันทร์ มีนามเดิมว่า จันทร์ ปินะถา เกิดในปี พ.ศ.2456 ณ บ้านยางสีสุราช อ.ยางสีสุราช จ.มหาสารคาม เป็นบุตรของพ่ออาจ–แม่สา ปินะถา ครอบครัวของท่านประกอบอาชีพทำไร่ทำนาเหมือนกับชาวอีสานทั่วไปช่วงวัยเด็ก ได้ช่วยงานครอบครัวด้วยความขยันขันแข็งและเป็นผู้มีจิตใจเอนเอียงเข้าหาพระ ธรรมชมชอบไปช่วยกิจการต่างๆ ที่วัดในหมู่บ้าน และชอบภาพวาดพุทธประวัติเป็นที่สุดมื่ออายุได้ 14 ปี บรรพชาเป็นสามเณรที่วัดยางสีสุราช จนอายุครบบวช 20 ปี ได้เข้าพิธีอุปสมบทเป็นพระภิกษุ ณ อุโบสถวัดยางสีสุราช อ.ยางสีสุราช จ.มหาสารคาม โดยมีหลวงปู่รอด พรมสโร วัดหนองกุง อ.นาเชือก จ.มหาสารคาม เป็นพระอุปัชฌาย์ หลวงพ่อเสาร์ เป็นพระกรรมวาจาจารย์

          ภายหลังอุปสมบทแล้ว หลวงปู่จันทร์ ได้จำพรรษาศึกษาเล่าเรียนพระธรรมวินัย ณ สำนักเรียนวัดยางสีสุราช ด้วยความมุมานะ สามารถสอบได้นักธรรมชั้นโทในยุคนั้นชื่อเสียงของพระครูสีหราช วัดบ้านแก้นท้าว อ.พยัคฆภูมิพิสัย โด่งดังไปทั่วอีสานกลาง ท่านจึงขอฝากตัวเป็นศิษย์เรียนวิทยาคม ซึ่งพระครูสีหราช เมตตาถ่ายทอดวิชาให้จนหมดสิ้นนอกจากนี้ ยังได้ไปศึกษาไสยเวทย์เพิ่มเติมจากหลวงปู่ดำ วัดหนองหิน อ.พยัคฆภูมิพิสัย ช่วงนั้นหลวงปู่ดำเป็นพระเกจิที่มีชื่อเสียงเช่นกัน

          ต่อมา ชาวบ้านโคกยาว อ.นาดูน เกิดความเลื่อมใสศรัทธาในวัตรปฏิบัติที่เสมอต้นเสมอปลายของท่าน ได้นิมนต์ท่านมาจำพรรษาอยู่ที่วัดบ้านโคกยาว เพราะขาดแคลนพระผู้ใหญ่ตลอดเวลาที่ท่านจำพรรษา ท่านได้ทุ่มเทกำลังกายกำลังใจพัฒนาวัดแห่งนี้ เต็มความสามารถ เมื่อยามว่างจากกิจของสงฆ์ ท่านจะนำพาชาวบ้านพัฒนาถนนในหมู่บ้าน และถนนที่เชื่อมหมู่บ้านอื่นๆ เพื่อให้ญาติโยมสัญจรไปมาหากันได้อย่างสะดวก รวมทั้งแก้ปัญหาการขาดแคลนน้ำอุปโภคบริโภค ด้วยการขุดบ่อ ทำฝายเก็บกักน้ำไว้ใช้ในช่วงฤดูแล้ง

          ตลอดเวลาที่หลวงปู่จันทร์ จำพรรษาอยู่ที่วัดบ้านโคกยาว วัตรปฏิบัติของหลวงปู่ ยังคงเหมือนเดิม คือ ช่วงหลังเทศกาลออกพรรษาทุกปีหากที่วัดไม่มีงานอะไรที่ยุ่งยาก ท่านจะออกเดินธุดงควัตรไปตามป่าเขาลำเนาไพรหลายแห่งในภาคอีสาน หลวงปู่มีพลังจิตที่กล้าแข็งมาก จากความเคร่งครัดในพระธรรมวินัย วัตรปฏิบัติจำเริญรอยตามพระครูสีหราช เสมอต้นเสมอปลายทำให้หลวงปู่จันทร์ มีชื่อเสียงโด่งดังเป็นที่รู้จักในวงกว้างอย่างรวดเร็ว ควบคู่กับหลวงปู่มี กันตสีโล วัดป่าสันติธรรมดงส้มป่อย ซึ่งเป็นสายธรรมพระครูสีหราช รุ่นสุดท้ายเช่นกัน

          ความโด่งดังของท่านทำให้ในแต่ละวันจะมีญาติโยมจากทั่วสารทิศเดินทาง มากราบนมัสการ รับฟังธรรม และประพรมน้ำพุทธมนต์ รวมทั้งปรารถนาวัตถุมงคลเหรียญรูปเหมือนรุ่น 1 และตระกรุดโทนที่เข้มขลังจากหลวงปู่กันอย่างล้นหลามพ.ศ.2525 หลวงปู่จันทร์ เห็นวัดร้างอยู่ใกล้อำเภอยางสีสุราช ที่ตั้งวัดป่าศรีสุโพธิ์วนาราม ในปัจจุบัน บรรยากาศสงบเงียบเหมาะสำหรับการปฏิบัติธรรม ท่านจึงร่วมกับญาติโยมพัฒนาวัดร้างขึ้นมาจนสำเร็จ พร้อมกับตั้งชื่อว่าวัดป่าศรีสุโพธิ์วนาราม จนถึงปัจจุบัน

          จากนั้น หลวงปู่ได้ย้ายมาจำพรรษาปฏิบัติธรรมอยู่ที่วัดป่าแห่งนี้จวบจนวาระสุดท้าย ของท่าน พ.ศ.2518 ได้รับพระราชทานเป็นพระครูสัญญาบัตรชั้นตรีที่ พระครูวิบูลธรรมรัตในช่วงบั้นปลายของชีวิตหลวงปู่อาพาธบ่อยครั้ง สุดท้ายถึงแก่มรณภาพอย่างสงบในปี พ.ศ.2530 สิริอายุ 74 พรรษา 54ถึงแม้หลวงปู่จันทร์ จะละสังขารไปนานหลายปี แต่คุณงามความดี ยังคงปรากฏอยู่ในใจของพุทธศาสนิกชน ตราบจนทุกวันนี้ สมกับที่เป็นพระเกจิอาจารย์แห่งเมืองสารคามโดยแท้.

วัตถุมงคลที่ได้รับความนิยม

          หลวงปู่จันทร์  ท่านเป็นพระคณาจารย์ยุคเก่า  ซึ่งในปีพ.ศ.2481 ท่านก็เป็นพระคณาจารย์อีกองค์  ที่ได้รับอาราธณานิมนต์เข้าร่วมพิธี ณ วัดราชบพิตร

          เหรียญรุ่นแรก ปีพ.ศ.2481  เนื่องในงานฉลองสมณศักดิ์ ที่ “พระครูธรรมสุนทร” มี 2 เนื้อ คือ เนื้อเงิน  และทองแดง

พุทธคุณที่เล่าสืบทอดกันมา

          วัตถุมงคลท่านเด่นทางด้าน คงกระพันชาตรี

 
 
พระเครื่องอื่น ๆ
ไม่พบสินค้าในฐานข้อมูล หมวดหมู่นี้
 
ตะกร้าพระเครื่อง

ดูตะกร้าพระเครื่อง
แจ้งการชำระเงิน
ตรวจสอบวันจัดส่ง
สถานะการส่งพระเครื่อง

พระเครื่องแนะนำ

เสือหลวงพ่อปาน วัดบางเหี้ย ศิลป์วัดกลาง จ.สมุทรปราการ  

พระโชว์ บาท


สิงห์หน้าโบสถ์หลวงปู่ยิ้ม วัดหนองบัว จ.กาญจนบุรี  

พระโชว์ บาท


ตะกรุดโสฬสมงคลหลวงปู่เอี่ยม วัดสะพานสูง ตะกั่วถ้ำชา จ.นนทบุรี  

พระโชว์ บาท


เสือหลวงพ่อปาน วัดบางเหี้ย พิมพ์พิเศษ(หน้าหมา) จ.สมุทรปราการ  

พระโชว์ บาท


กะลาราหูหลวงพ่อน้อย วัดศีรษะทอง จ.นครปฐม  

พระโชว์ บาท


เบี้ยแก้หลวงปู่รอด วัดนายโรง ลูกที่ 2  

พระโชว์ บาท


หนุมานหลวงปู่บุญ วัดกลางบางแก้ว จ.นครปฐม  

พระโชว์ บาท


เสือหลวงปู่บุญ วัดกลางบางแก้ว จ.นครปฐม  

พระโชว์ บาท


เบี้ยแก้หลวงปู่รอด วัดนายโรง ลูกที่ 1  

พระโชว์ บาท


พระเครื่องแนะนำทั้งหมด
เปิดโลกพระเครื่อง
เปิดโลกสมเด็จ
เปิดโลกพระกรุ
ทำเนียบสมเด็จพระสังฆราชไทย
ตำนานพระพุทธรูป
หลักการดูพระเบื้องต้น
รายนานเกจิอาจารย์
อ่านบทความทั้งหมด