พระเครื่องทั้งหมด 966 ชิ้น 
     ตะกร้าพระเครื่อง : (0) 
ประเภทพระเครื่อง
ภาพวาดผลงานศิลปิน,รูปถ่ายเก่าซีเปีย (131) พระกริ่ง รูปหล่อ เหรียญหล่อ (81) เหรียญพระพุทธ เหรียญเกจิ เหรียญที่ระลึก (35) เครื่องราง (182) พระปิดตาเนื้อโลหะ,ผงคลุกรักษ์ (35) พระเนื้อผง ดิน ว่าน (59) พระบูชา (104) หนังสือพระ (1) ศาสตราวุธโบราณ (44) อนุรักษ์พระกรุ (13) พระเครื่องเรื่องเล่าตำนานสายเหนียว (7)
เมนูช่วยเหลือ
วิธีการสั่งซื้อ
วิธีการชำระเงิน
คำถาม-ตอบ
เงื่อนไขการสั่งซื้อ
เกี่ยวกับเรา
ติดต่อเรา
พระเครื่องที่บูชาแล้ว
พระใหม่ 100 รายการ
โปรโมชั่นพิเศษ
สถิติสินค้า
พระเครื่องทั้งหมด 966 ชิ้น
พระเครื่องถูกจองแล้ว 7 ชิ้น
พระเครื่องบูชาแล้ว 2 ชิ้น
พระเครื่องคงเหลือ 683 ชิ้น
บทความน่าอ่าน
ถูกจริงแท้ แท้หรือเปล่า?
ต่อพระน่าเกลียดไปมั้ย?
ไม่มีกล้องห้ามดู ไปไกล ๆ
ทำไมไม่รับ? พกง.เก็บเงินปลายทาง
ประวัติผู้สร้างพระเครื่อง
หลวงพ่อจวน วัดหนองสุ่ม
หลวงปู่ครีพ วัดสมถะ
หลวงพ่อโต วัดเนิน
หลวงปู่ภู่ วัดนอก
หลวงพ่อรวย วัดท่าเรือแกลง
หลวงพ่อหิน วัดหนองสนม
หลวงพ่อขัน วัดนกกระจาบ
หลวงพ่อพุธ วัดป่าสาลวัน
หลวงพ่อสนิท วัดลำบัวลอย
หลวงปู่กงมา วัดดอยธรรมเจดีย์
หลวงปู่เจี๊ยะ วัดภูริทัตตปฏิปทาราม
หลวงปู่เผือก วัดสาลีโขภิตาราม
หลวงปู่เหรียญ วัดบางระโหง
หลวงปู่เหมือน วัดโรงหีบ
หลวงพ่อเส็ง วัดประจันตคาม
ประวัติผู้สร้างทั้งหมด
อัตราแลกเปลี่ยน
ราคาน้ำมัน
ชำระผ่านธนาคาร
 ไทยพาณิชย์ 136-232797-4  กสิกร 735-2-43729-2  กรุงเทพ 009-006097-1  กรุงไทย 086-0-22285-3
 
 
รายละเอียดเพิ่มเติม

พระเครื่อง ศักดิ์ตลิ่งชัน


พระเครื่อง อีซี่อมูเล็ต


 
หลวงพ่อดิ่ง วัดบางวัว
ข้อมูลประวัติ หลวงพ่อดิ่ง คงคสุวัณโณ วัดอุสภาราม (บางวัว) ฉะเชิงเทรา

เกิด                      วันพฤหัสบดีที่ 14 มีนาคม พ.ศ.2420 ตรงกับขึ้น 11 ค่ำ เดือน 4 ปีฉลู เป็นบุตรของ นายเหม  นางล้วน  เหมล้วน

อุปสมบท               เมื่ออายุ 20 ปี ณ พัทธสีมาวัดอุสภาราม (บางวัว) เมื่อวันเสาร์ที่ 10 เมษายน พ.ศ.2440  ตรงกับขึ้น 9 ค่ำ เดือน 5 ปีระกา

มรณภาพ               วันพุธที่ 6 สิงหาคม พ.ศ.2495  ตรงกับขึ้น 15 ค่ำ เดือน 9 เวลา 15.00 น.

รวมสิริอายุ              75 ปี 55 พรรษา

          หลวงพ่อดิ่ง วัดบางวัว จ.ฉะเชิงเทรา ชื่อเกจินามนี้ สำนักนี้ แห่งเมืองแปดริ้ว นักเลงพระทั่วถ้วนทุกคนตองรู้จัก เพราะเหรียญของท่านเป็น หนึ่ง” ในเบญจภาคีเหรียญ หรือแม้แต่เครี่องรางของขลังจำลองรูป “ลิง ก็เป็นหนึงโนทำเนียบเครืองรางของขลังที่เล่นหากันราคาสูงยิงโนขณะนี้ พระครูพิบูลย์คณารักษ์ คงฺคสุวณฺโณ หรือหลังพ่อดิ่งเป็นชาวบ้านตำบลบางวัว ซึ่งชาวบ้านเรียกกันว่า “เกาะหลัง บ้าน” เกิดเมื่อวันที่ 14 มีนาคม พ .ศ. 2420 ตรงกับวันพฤหัสบดี ขึ้น 11 คำ เดือน 4 ปีฉลู จ. ศ .1239 เป็นบุตรโยมเหม โยม ล้วน นามสกุลเหมล้วน มีพี่เองด้วยกัน 16 คน ท่านเป็น บุตรคนที่ 8 พอเข้าวัยการศึกษา บิดามารดาได้นำท่านไปฝาก ศึกษาเลาเรียนให้อยูกับพระที่วัดบางวัว ด้วยชีวิตในวัยเด็ก ได้รับการอุปถัมภ์อยูกับพระรสพระธรรม ได้ขึมซาบเข้าไปใน จิตใจของท่านอย่างลึกชึ้ง ยามว่างก็จะเข้ามาช่วยบิดามารดาประกอบอาชีพคีอการทำนา สมัยก่อนทำนาจะทำปี ละครั้ง ด้วยเหตุนี้ชาวนาจึงมีเวลาว่างมาก เพราะต้องรอ คอยฤดูฝนจึงจะทำนากันได้ จนกระทังทานอายุได้ 20 ปีบริบูรณ์ โยมบิดามารดา จึงได้จัดการโหทานบรรพชาอุปสมบท ณ พัทธฉมาวัดบางวัว เมื่อวันที่10 เมษายน พ .ศ.2440 ตรงกับวันเสาร์ขึ้น 9 ค่ำ เดือน 5 ปีระกา โดยมีหลวงพอดิษฐ์ วัดบางสมัคร เป็นพระอุปัชฌาย์ พระอาจารย์จ่าง วัดบางสมัคร เป็นพระกรรมวาจาจารย์ พระอาจารย์ปลอด วัดบางวัว เป็นพระอนุสาวนาจารย์ ได้รับฉายาทางพระวา คงฺคสุวณฺโณ เมื่อบวชแล้วได้อยู่จำพรรษาที่วัดบางวัว ศึกษาพระธรรมวินัย จากพระอุปัชฌาย์เป็นเวลา 2 พรรษา แล้ว

          ท่านก็ได้ เดินทางเข้ามาศึกษาปริยัติธรรมที่วัดไตรมิตรวิทยาราม (วัดสามจีน) ในสมัยที่หลวงพ่อโมยังมีชีวิตอยู่ จากคำบันทึกทีหลังพอดิ่งเล่าให้ศิษย์ฟังวา ขณะที่มาอยู่ที่วัดไตรมิตรฯ เพียง 1 พรรษา พระอธิการเปีย เจ้าอาวาส วัดบางวัวก็มรณภาพลง พระภิกษุในวัดและญาติโยมได้ประชุมปรึกษากันมีมติให้ไปนิมนต์ท่านกลับมาดำรง ตำแหน่งเจ้าอาวาสสืบต่อไป ด้วยเหตุนี้ท่านจึงไม่อาจขัดศรัทธาของญาติโยมได้ จึงเดินทางมาครองวัดบางวัว ตั้งแต่ปี พ.ศ. 2443 เรียกว่าบวชเพียง 3 พรรษาก็ไดเป็นเจ้าอาวาส วัดบางวัวเพิ่มเป็นสำนักสงฆ์ตั้งอยู่บนที่นาของนายถ้วย สร้อยสุพรรณ ทางจากวัดในปัจจุบันไป 1 กม ต่อมาได้ย้าย มาตั้งอยู่ใกล้วัดปัจจุบันนี้ประมาณ 10 เส้นเศษ ครั้งหลังสุด ได้ย้ายออกมาอีก โดยนายหร่าย-นางเพียน ชัวล่ำ นางสังข์ นางทิ้ง น้อยจินดา นายเงิน นางสังวาลย์ อู่เจริญ ได้ถวายที่ดินให้สร้างวัดซึ่งเป็นที่ตั้งในปัจจุบันนี้ เมื่อหลวงพ่อดิ่งได้ดำรงตำแหน่งเจ้าอาวาสท่านก็เริ่มพัฒนาถาวรวัตถุต่าง ๆ ในวัดซึ่งขณะนั้นกำลังชำรุดทรุดโทรมไปตามกาลเวลา ได้พัฒนาให้มีการศึกษาพระปริยัติธรรมแก่พระภิกษุ-สามเณร

          หลวงพ่อดิ่งได้เล่าให้ศิษย์ใกล้ชิดฟังเสมอว่า อาจารย์ที่ฉันได้เล่าเรียนวิชามาด้วยกันจริง ๆ มีอยู่ 3 องค์อคือ 1.หลวงพ่อดิษฐ์ วัดบางสมัคร ซึ่งเป็ฯพระอุปัชฌาย์ของฉันเอง 2.หลวงพ่อเปิ้น วัดบ้านเก่า อำเภอพานทอง จังหวัดชลบุรี องค์นี้ท่านเก่งมาก ขนาดปราบฝรั่งที่มันมาเผยแพร่ศาสนาศริสต์จนต้องยอมสยบต่อท่าน แน่ไม่แน่ขนาดฝรั่งยิงปืนไปที่โบสถ์วัดบ้านเก่าไม่ออกก็แล้วกัน 3.หลวงพ่อเปอะ วัดจวนเขื่อนขันธ์ พระประแดง สมุทรปราการ องค์นี้ท่านเก่งทางสมุนไพร แพทย์แผนโบราณ
หลวงพ่อดิ่งมรณภาพเมื่อวันที่ 6 สิงหาคม พ.ศ.2495 สิริรวมอายุ 75 ปี 55 พรรษา
วัตถุมงคลที่หลวงพ่อดิ่งสร้าง เหรียญรูปเหมือน รุ่นแรก ปีพ.ศ.2481 ที่เป็นที่นิยมเล่นหากันมาก และยังมีลิงจับหลัก เหรียญพระพุทธ ตะกรุด ผ้ายันต์ ตลอดจนพระปิดตาเนื้อเมฆพัด

วัตถุมงคลที่ได้รับความนิยม

          วัตถุมงคลที่ท่านสร้างมีหลายรุ่น เช่น เสื้อยันต์  ผ้ายันต์ชนิดต่าง ๆ ซึ่งท่านมักเขียนด้วยมือ  ยาแคล้วคลาด  หนุมานแกะจากรากพุด  ตะกรุดชนิดต่าง ๆ

          เหรียญรุ่นแรกปี พ.ศ.2481 เป็นเหรียญทองแดงหูเชื่อม  เหรียญเงินลงยาแจกกรรมการ  และล็อกเกตขาว ดำ

          เหรียญรุ่นสองปี พ.ศ.2492 เป็นเหรียญรูปไข่ เนื้อทองแดง

พุทธคุณที่เล่าสืบทอดกันมา

                พุทธคุณในวัตถุมงคลของท่านเด่นทาง  เมตตามหานิยม 

 
พระเครื่องอื่น ๆ
ไม่พบสินค้าในฐานข้อมูล หมวดหมู่นี้
 
ตะกร้าพระเครื่อง

ดูตะกร้าพระเครื่อง
แจ้งการชำระเงิน
ตรวจสอบวันจัดส่ง
สถานะการส่งพระเครื่อง

พระเครื่องแนะนำ

เสือหลวงพ่อปาน วัดบางเหี้ย ศิลป์วัดกลาง จ.สมุทรปราการ  

พระโชว์ บาท


สิงห์หน้าโบสถ์หลวงปู่ยิ้ม วัดหนองบัว จ.กาญจนบุรี  

พระโชว์ บาท


ตะกรุดโสฬสมงคลหลวงปู่เอี่ยม วัดสะพานสูง ตะกั่วถ้ำชา จ.นนทบุรี  

พระโชว์ บาท


เสือหลวงพ่อปาน วัดบางเหี้ย พิมพ์พิเศษ(หน้าหมา) จ.สมุทรปราการ  

พระโชว์ บาท


กะลาราหูหลวงพ่อน้อย วัดศีรษะทอง จ.นครปฐม  

พระโชว์ บาท


เบี้ยแก้หลวงปู่รอด วัดนายโรง ลูกที่ 2  

พระโชว์ บาท


หนุมานหลวงปู่บุญ วัดกลางบางแก้ว จ.นครปฐม  

พระโชว์ บาท


เสือหลวงปู่บุญ วัดกลางบางแก้ว จ.นครปฐม  

พระโชว์ บาท


เบี้ยแก้หลวงปู่รอด วัดนายโรง ลูกที่ 1  

พระโชว์ บาท


พระเครื่องแนะนำทั้งหมด
เปิดโลกพระเครื่อง
เปิดโลกสมเด็จ
เปิดโลกพระกรุ
ทำเนียบสมเด็จพระสังฆราชไทย
ตำนานพระพุทธรูป
หลักการดูพระเบื้องต้น
รายนานเกจิอาจารย์
อ่านบทความทั้งหมด