พระเครื่องทั้งหมด 966 ชิ้น 
     ตะกร้าพระเครื่อง : (0) 
ประเภทพระเครื่อง
ภาพวาดผลงานศิลปิน,รูปถ่ายเก่าซีเปีย (131) พระกริ่ง รูปหล่อ เหรียญหล่อ (81) เหรียญพระพุทธ เหรียญเกจิ เหรียญที่ระลึก (35) เครื่องราง (182) พระปิดตาเนื้อโลหะ,ผงคลุกรักษ์ (35) พระเนื้อผง ดิน ว่าน (59) พระบูชา (104) หนังสือพระ (1) ศาสตราวุธโบราณ (44) อนุรักษ์พระกรุ (13) พระเครื่องเรื่องเล่าตำนานสายเหนียว (7)
เมนูช่วยเหลือ
วิธีการสั่งซื้อ
วิธีการชำระเงิน
คำถาม-ตอบ
เงื่อนไขการสั่งซื้อ
เกี่ยวกับเรา
ติดต่อเรา
พระเครื่องที่บูชาแล้ว
พระใหม่ 100 รายการ
โปรโมชั่นพิเศษ
สถิติสินค้า
พระเครื่องทั้งหมด 966 ชิ้น
พระเครื่องถูกจองแล้ว 7 ชิ้น
พระเครื่องบูชาแล้ว 2 ชิ้น
พระเครื่องคงเหลือ 683 ชิ้น
บทความน่าอ่าน
ถูกจริงแท้ แท้หรือเปล่า?
ต่อพระน่าเกลียดไปมั้ย?
ไม่มีกล้องห้ามดู ไปไกล ๆ
ทำไมไม่รับ? พกง.เก็บเงินปลายทาง
ประวัติผู้สร้างพระเครื่อง
หลวงพ่อจวน วัดหนองสุ่ม
หลวงปู่ครีพ วัดสมถะ
หลวงพ่อโต วัดเนิน
หลวงปู่ภู่ วัดนอก
หลวงพ่อรวย วัดท่าเรือแกลง
หลวงพ่อหิน วัดหนองสนม
หลวงพ่อขัน วัดนกกระจาบ
หลวงพ่อพุธ วัดป่าสาลวัน
หลวงพ่อสนิท วัดลำบัวลอย
หลวงปู่กงมา วัดดอยธรรมเจดีย์
หลวงปู่เจี๊ยะ วัดภูริทัตตปฏิปทาราม
หลวงปู่เผือก วัดสาลีโขภิตาราม
หลวงปู่เหรียญ วัดบางระโหง
หลวงปู่เหมือน วัดโรงหีบ
หลวงพ่อเส็ง วัดประจันตคาม
ประวัติผู้สร้างทั้งหมด
อัตราแลกเปลี่ยน
ราคาน้ำมัน
ชำระผ่านธนาคาร
 ไทยพาณิชย์ 136-232797-4  กสิกร 735-2-43729-2  กรุงเทพ 009-006097-1  กรุงไทย 086-0-22285-3
 
 
รายละเอียดเพิ่มเติม

พระเครื่อง ศักดิ์ตลิ่งชัน


พระเครื่อง อีซี่อมูเล็ต


 
หลวงปู่เอี่ยม วัดหนัง
ข้อมูลประวัติ หลวงปู่เอี่ยม วัดหนังราชวรวิหาร กรุงเทพฯ
 
เกิด                      วันศุกร์ที่ 5 ตุลาคม 2375  เป็นบุตรของ นายทอง  แม่อู๋  ทองอู๋

บรรพชา                อายุ 19 ปี

อุปสมบท               อายุ 22 ปี ณ พัทธสีมาวัดโอรสาราม

มรณภาพ               วันที่ 29 เมษายน 2469  ตรงกับวันจันทร์ ขึ้น 15 ค่ำ เดือน 6 ปีขาล

รวมสิริอายุ             94 ปี 72 พรรษา

          พระภาวนาโกศลเถระ เดิมชื่อเอี่ยม เป็นชาวบางขุนเทียนโดยกำเนิด บ้านอยู่ริมคลองบางหว้า หลังวัดหนัง  กำเนิดเมื่อวันศุกร์ เดือน ๑๑ ขึ้น ๘ ค่ำ จุลศักราช ๑๑๔๙ ปีมะโรง จัตวาศก ตรงกับวันที่ ๒ ตุลาคม พ.ศ. ๒๓๗๕ ในแผ่นดินพระบาทสมเด็จพระนั่งเกล้าเจ้าอยู่หัว รัชกาลที่ ๓ แห่งกรุงรัตนโกสินทร์ และมีนามสกุลว่า “ทองอู๋” ชาวบ้านบางขุนเทียนเรียกกันว่า “หลวงพ่อปู่เฒ่า” ส่วนบุคคลทั่วๆ ไป และนักสะสมพระเครื่องทั้งหลาย เรียกว่า “หลวงพ่อวัดหนัง” โยมบิดามารดามีชื่อว่า นายทอง และนางอู่ ซึ่งเป็นต้นตระกูล “ทองอู๋” ในขณะนี้ โยมทั้งสองท่าน ประกอบอาชีพเป็นชาวสวนและมีฐานะมั่นคง เมื่อได้มีการตราพระราชบัญญัติขนานนามสกุลขึ้นในสมัยรัชกาลที่ ๖ บุคคลชั้นหลังของตระกูลนี้ขอใช้นามสกุลว่า “ทองอู่” อันเป็นนามรวมของโยมทั้ง ๒ แต่ต่อมาไม่นานนัก ก็ได้มีเจ้านายพระองค์หนึ่ง ทักท้วงว่าไปพ้องกับพระนามของเจ้าต่างกรมพระองค์เข้า จึงต้องเปลี่ยนมาเป็น “ทองอู๋” สืบต่อมาจนถึงปัจจุบันนี้

          เครือญาติพี่น้องร่วมท้องเดียวกับพระภาวนาโกศลเถระ มีอยู่ด้วยกัน ๓ คนคือ โยมพี่สาวชื่อ นางเปี่ยม ทองอู๋ เป็นผู้รักษาศีลอุโบสถและไม่ได้แต่งงานมีครอบครัว ดังนั้นเมื่อสิ้นโยมบิดามารดาแล้ว จึงมาฝากไว้ในความอุปการะของนายทรัพย์ ทองอู๋ บิดาของนายพูน ทองพูนกิจ ผู้เป็นบุตรผู้พี่ของพระภาวนาโกศลเถระ คือนายเอม  ทองอู๋

          การศึกษาอักขร สมัยเมื่อพระภาวนาโกศลเถระ ยังเด็กอายุ ๙ ปี โยมทั้ง ๒ ของท่านได้นำมาฝาก เรียนหนังสือ ในสำนักพระครูธรรมถิดาญาณ หรือหลวงปู่รอด ผู้ช่วยเจ้าอาวาสวัดหนัง ราชวรวิหาร ในปี พ.ศ. ๒๓๘๗ ในสมัยต่อมา ได้เป็นพระอาจารย์ วิทยาคม ของพระภาวนาโกศลเถระ (เอี่ยม) การศึกษาพระบาลีปริยัติธรรม เมื่ออายุได้ ๑๑ ปี ท่านได้ศึกษาพระบาลีปริยัติธรรม ในสำนักพระมหายิ้ม วัดบวรนิเวศวิหาร ต่อจากนั้น ได้ไปอยู่ในสำนัก พระปิฎกโกศล (ฉิม) วัดราชบูรณะ (วัดเลียบ)

          ต่อมาท่านได้กลับมาบรรพชาเป็นสามเณร และศึกษาพระปริยัติธรรมต่อที่วัดหนัง ราชวรวิหาร สำนักเดิม ของท่าน อีกวาระหนึ่ง การศึกษาในระยะนี้ ดำเนินมาหลายปี ติดต่อกันจนกระทั่งถึง พ.ศ. ๒๓๙๔  เมื่อท่าน อายุได้ ๑๙ ปี จึงได้เข้าสอบ แปลพระปริยัติธรรมสนามหลวง ซึ่งสมัยนั้น ต้องเข้าสอบแปลปากเปล่า ต่อหน้าพระพักตร์ ที่วัดพระศรีรัตนศาสดาราม กลับไปช่วยบิดามารดาประกอบอาชีพอยู่ระยะหนึ่ง แต่น่าเสียดายที่ท่านสอบพลาดไป เลยลาสิกขาบท

          อาจจะเป็นด้วยบุญกุศลที่จะต้องเป็นสมณะเพศเพื่อพระศาสนา เพื่อการฟื้นฟูปฏิสังขรณ์สังฆาวาส เสนาสนะ แห่งวัดนี้ ให้ฟื้นฟูคืนจากสภาพอันเสื่อมโทรมขึ้นสู่ยุคอันรุ่งเรืองสูงสุด ในกาลสมัยต่อมา หรือเพื่อความเป็น พระเกจิอาจารย์ ชั้นเยี่ยมแห่งองค์พระกษัตราธิราชเจ้า และเป็นร่มโพธิ์ร่มไทร ของบรรดาสานุศิษย์ทั้งหลาย ท่านจึง หันกลับเข้ามาสู่ร่มเงาแห่งกาสาวพัสตร์อีกครั้งหนึ่ง เมื่อได้จากไปเพียง ๓ ปีเท่านั้น ในปี พ.ศ. ๒๓๙๗ เมื่ออายุได้ ๒๒ ปี ท่านได้เข้ามาอุปสมบท ตามขนบจารีตอันดั้งเดิมของชาวไทย เพื่อสืบต่อพระบวรพุทธศาสนา และเพื่อแสดง กตเวทิตธรรม แด่โยมผู้บุพการีทั้งสอง ซึ่งได้ทำการอุปสมบท ณ พัทธสีมาวัดราชโอรสาราม (วัดจอมทอง)
อ.บางขุนเทียน จ.ธนบุรี (เขตจอมทอง กรุงเทพฯในปัจจุบัน)

วัตถุมงคลที่ได้รับความนิยม

          วัตถุมงคลของท่าน ไม่ว่าจะเป็น เหรียญ  พระปิดตาเนื้อโลหะเนื้อผง    พระปิดตายันต์ยุ่ง  พระชัยวัฒน์  เครื่องรางของขลัง  ล้วนได้รับความนิยมสูงมาก  และเป็นหนึ่งในพระเบญจภาคีของพระชนิดนั้น ๆ พร้อมทั้งยังมีวัตถุมงคลอื่น ๆ อีก เช่น หมากทุย

          เหรียญหลวงปู่เอี่ยม ปี 2467  เพื่อสมนาคุณแก่ผู้ร่วมบริจาคทรัพย์บูรณะศาลาการเปรียญ ด้านหลังมีทั้ง หลังยันต์ห้า  และหลังยันต์สี่  ซึ่งเหรียญหลังยันต์สี่นั้น มีทั้งพิมพ์ 3 จุด และพิมพ์ 4 จุด  เป็นเนื้อเงิน  และเนื้อทองแดง  ส่วนเหรียญยันต์ห้า  จะเป็นเหรียญเนื้อสัมฤทธิ์  นอกจากนั้นยังปรากฏเหรียญลักษณะพิเศษเป็นแบบเหรียญฉลุอีกจำนวนหนึ่ง  มีทั้งเนื้อเงิน  และเนื้อทองคำ            

          วัตถุมงคลของท่าน ไม่ว่าจะเป็น เหรียญ พระปิดตาเนื้อโลหะเนื้อผง พระปิดตายันต์ยุ่ง พระชัยวัฒน์ เครื่องรางของขลัง ล้วนได้รับความนิยมสูงมาก และเป็นหนึ่งในพระเบญจภาคีของพระชนิดนั้น ๆ พร้อมทั้งยังมีวัตถุมงคลอื่น ๆ อีก เช่น หมากทุย

          หมากทุย หลวงปู่เอี่ยมนั้นท่านทำให้ไว้เพื่อป้องกันตัว หมากทุยเด่นทางคงกระพันชาตรีและแคล้วคลาด 

          ปัจจุบันนั้นหายากพอสมควร ของปลอมทำเลียนแบบก็มีมานานแล้ว การพิจารณาหมากทุยนั้น ต้องอาศัยความชำนาญมาก ต้องดูความเก่าของตัวหมากและชันโรงได้ 

          หมากทุยของท่านนั้นบางชิ้นก็เป็นหมากเปลือยๆ ไม่ได้หุ้มอะไร บางชิ้นเจ้าของได้มาก็ถักเชือก เพื่อสะดวกในการห้อย และลงรักหรือลงยางไม้ ก็เพื่อให้เชือกมีความคงทนในการใช้ 

          ถ้าหมากทุยที่มีการลงรักถักเชือกหรือยางไม้ก็ให้พิจารณา เชือก รัก หรือยางไม้ว่ามีอายุความเก่าพอหรือไม่.............. 

พุทธคุณที่เล่าสืบทอดกันมา

          พุทธคุณในเหรียญรุ่นนี้เด่นทาง  เมตตามหานิยม

 
พระเครื่องอื่น ๆ
ไม่พบสินค้าในฐานข้อมูล หมวดหมู่นี้
 
ตะกร้าพระเครื่อง

ดูตะกร้าพระเครื่อง
แจ้งการชำระเงิน
ตรวจสอบวันจัดส่ง
สถานะการส่งพระเครื่อง

พระเครื่องแนะนำ

เสือหลวงพ่อปาน วัดบางเหี้ย ศิลป์วัดกลาง จ.สมุทรปราการ  

พระโชว์ บาท


สิงห์หน้าโบสถ์หลวงปู่ยิ้ม วัดหนองบัว จ.กาญจนบุรี  

พระโชว์ บาท


ตะกรุดโสฬสมงคลหลวงปู่เอี่ยม วัดสะพานสูง ตะกั่วถ้ำชา จ.นนทบุรี  

พระโชว์ บาท


เสือหลวงพ่อปาน วัดบางเหี้ย พิมพ์พิเศษ(หน้าหมา) จ.สมุทรปราการ  

พระโชว์ บาท


กะลาราหูหลวงพ่อน้อย วัดศีรษะทอง จ.นครปฐม  

พระโชว์ บาท


เบี้ยแก้หลวงปู่รอด วัดนายโรง ลูกที่ 2  

พระโชว์ บาท


หนุมานหลวงปู่บุญ วัดกลางบางแก้ว จ.นครปฐม  

พระโชว์ บาท


เสือหลวงปู่บุญ วัดกลางบางแก้ว จ.นครปฐม  

พระโชว์ บาท


เบี้ยแก้หลวงปู่รอด วัดนายโรง ลูกที่ 1  

พระโชว์ บาท


พระเครื่องแนะนำทั้งหมด
เปิดโลกพระเครื่อง
เปิดโลกสมเด็จ
เปิดโลกพระกรุ
ทำเนียบสมเด็จพระสังฆราชไทย
ตำนานพระพุทธรูป
หลักการดูพระเบื้องต้น
รายนานเกจิอาจารย์
อ่านบทความทั้งหมด