พระเครื่องทั้งหมด 982 ชิ้น 
     ตะกร้าพระเครื่อง : (0) 
ประเภทพระเครื่อง
ภาพวาดผลงานศิลปิน,รูปถ่ายเก่าซีเปีย (135) พระกริ่ง รูปหล่อ เหรียญหล่อ (81) เหรียญพระพุทธ เหรียญเกจิ เหรียญที่ระลึก (34) เครื่องราง (188) พระปิดตาเนื้อโลหะ,ผงคลุกรักษ์ (36) พระเนื้อผง ดิน ว่าน (60) พระบูชา (103) หนังสือพระ (1) ศาสตราวุธโบราณ (45) อนุรักษ์พระกรุ (13) พระเครื่องเรื่องเล่าตำนานสายเหนียว (7)
เมนูช่วยเหลือ
วิธีการสั่งซื้อ
วิธีการชำระเงิน
คำถาม-ตอบ
เงื่อนไขการสั่งซื้อ
เกี่ยวกับเรา
ติดต่อเรา
พระเครื่องที่บูชาแล้ว
พระใหม่ 100 รายการ
โปรโมชั่นพิเศษ
สถิติสินค้า
พระเครื่องทั้งหมด 982 ชิ้น
พระเครื่องถูกจองแล้ว 7 ชิ้น
พระเครื่องบูชาแล้ว 2 ชิ้น
พระเครื่องคงเหลือ 694 ชิ้น
บทความน่าอ่าน
ถูกจริงแท้ แท้หรือเปล่า?
ต่อพระน่าเกลียดไปมั้ย?
ไม่มีกล้องห้ามดู ไปไกล ๆ
ทำไมไม่รับ? พกง.เก็บเงินปลายทาง
ประวัติผู้สร้างพระเครื่อง
หลวงพ่อจวน วัดหนองสุ่ม
หลวงปู่ครีพ วัดสมถะ
หลวงพ่อโต วัดเนิน
หลวงปู่ภู่ วัดนอก
หลวงพ่อรวย วัดท่าเรือแกลง
หลวงพ่อหิน วัดหนองสนม
หลวงพ่อขัน วัดนกกระจาบ
หลวงพ่อพุธ วัดป่าสาลวัน
หลวงพ่อสนิท วัดลำบัวลอย
หลวงปู่กงมา วัดดอยธรรมเจดีย์
หลวงปู่เจี๊ยะ วัดภูริทัตตปฏิปทาราม
หลวงปู่เผือก วัดสาลีโขภิตาราม
หลวงปู่เหรียญ วัดบางระโหง
หลวงปู่เหมือน วัดโรงหีบ
หลวงพ่อเส็ง วัดประจันตคาม
ประวัติผู้สร้างทั้งหมด
อัตราแลกเปลี่ยน
ราคาน้ำมัน
ชำระผ่านธนาคาร
 ไทยพาณิชย์ 136-232797-4  กสิกร 735-2-43729-2  กรุงเทพ 009-006097-1  กรุงไทย 086-0-22285-3
 
 
รายละเอียดเพิ่มเติม

พระเครื่อง ศักดิ์ตลิ่งชัน


พระเครื่อง อีซี่อมูเล็ต


พระ พระเครื่อง พระแท้
 
พระเครื่อง : ภาพวาดสีฝุ่นหลวงพ่อแช่ม วัดฉลอง จ.ภูเก็ต
ภาพวาดสีฝุ่นหลวงพ่อแช่ม วัดฉลอง จ.ภูเก็ต
พระเครื่องเลขที่ : 591

ภาพวาดสีฝุ่นหลวงพ่อแช่ม วัดฉลอง จ.ภูเก็ต


ผู้สร้าง :
ออกที่ :
ปี พ.ศ :

ราคาเช่าบูชา : พระโชว์ บาท
ราคาค่าจัดส่ง : ฟรี บาท (EMS)

เช่าพระเครื่อง    สอบถามเพิ่มเติม


โทร. 089-9799425

 
รูปประกอบพระเครื่อง
ภาพวาดสีฝุ่นหลวงพ่อแช่ม วัดฉลอง จ.ภูเก็ต
ภาพวาดสีฝุ่นหลวงพ่อแช่ม วัดฉลอง จ.ภูเก็ต
ภาพวาดสีฝุ่นหลวงพ่อแช่ม วัดฉลอง จ.ภูเก็ต
ภาพวาดสีฝุ่นหลวงพ่อแช่ม วัดฉลอง จ.ภูเก็ต

 
รายละเอียดพระเครื่อง

ภาพวาดสีฝุ่นอมตะเถระแดนใต้ไข่มุกอันดามัน หลวงพ่อแช่ม วัดฉลอง จ.ภูเก็ต ความเคารพและศรัทธาที่ถ่ายทอดผ่านปลายพู่กันได้ออกมาดุจมีชีวิต ศิลปินท่านนี้ได้วาดไว้เกือบ 60 ปี ก่อน ขนาดรูป 19*25 นิ้ว ไม่รวมกรอบ กรอบแป้งเดิมๆ เกียรติประวัติที่จารึกไว้ในประวัติศาสตร์เมืองภูเก็ต หลวงพ่อแช่ม ปราบอั่งยี่ชาวภูเก็ตเรียกว่าวุ่นจีน พระครูวิสุทธิวงศาจารย์ญาณมุนี หรือชาวภูเก็ตจะเรียกท่านว่าพ่อท่านสมเด็จเจ้า เป็นศูนย์รวมความศรัทธาของชาวภูเก็ตและชาวภาคใต้ยังกว้างขวางกิตติศัพท์หลวงปู่เป็นเลื่องลือไม่ได้มาด้วยความเชื่อถือยังงมงายล้วนมีที่มาที่ไปของข้อมูลพื้นฐานยื่นยันรองรับ หลวงพ่อแช่มเกิดเมื่อปีกุน พ.ศ. 2370 ในรัชสมัยพระบาทสมเด็จพระนั่งเกล้าเจ้าอยู่หัว ที่ตำบลบ่อแสน อำเภอทับปุด จังหวัดพังงา ไม่ปรากฏหลักฐานเกี่ยวกับนามของโยมบิดามารดาของท่าน หลวงปู่เป็นชาวบ้านฉลองตั้งแต่กำเนิดเป็นศิษย์วัดฉลอง ต่อมาได้บวชเป็นสามเณรและอุปสมบถศึกษาเล่าเรียนวิปัสสนาธุระคาถาอาคมตลอดจนมีความเชี่ยวชาญ หลวงพ่อแช่มเป็นผู้เคร่งครัดในพระธรรมวินัยเป็นอย่างยิ่ง ท่านเป็นลูกศิษย์ของพ่อท่านเฒ่า เจ้าอาวาสวัดฉลองในเวลานั้น หลวงพ่อแช่มเป็นที่เคารพศรัทธาเลื่อมใสของชาวบ้านมากต่อมาในปี พ.ศ. 2393 พ่อท่านเฒ่ามรณภาพ หลวงพ่อแช่มได้รับการแต่งตั้งให้เป็นเจ้าอาวาสวัดฉลองสืบต่อมา ย้อนกลับไปใน ปี พ.ศ. 2419 ข่าวกรรมกรจีนอั่งยี่ ก่อการจราจลปล้นฆ่าคนไทยปล้นสดมแพร่สะพัดออกไปชาวบ้านฉลองต่างกลัวภัยหนีขึ้นภูเขากันอย่างทั่วหน้าชาวบ้านฉลองที่เคยเป็นลูกศิษย์ของหลวงพ่อแช่มได้ชักชวนให้หลวงพ่อแช่มหนีภัยพวกอั้งยี่ไปซ่อนตัวอยู่ที่อื่น แต่หลวงพ่อแช่มไม่ยอมทิ้งวัดหนีไปไหน ลูกศิษย์ของหลวงพ่อแช่มจึงตัดสินใจรวมกลุ่มกันสู้เพื่อปกป้องหลวงพ่อแช่มและขอผ้าขาวมาลงยันต์ทำเป็นผ้าประเจียดคาดศรีษะจากท่านเพื่อเป็นขวัญกำลังใจ ซึ่งท่านได้อนุโลมตามที่บรรดาลูกศิษย์ขอร้อง ลูกศิษย์ชาวบ้านฉลองกลุ่มนี้ต่อมารบพวกอั้งยี่จนชนะ ทำให้คนที่หนีภัยอั้งยี่กลับเข้ามารวมกลุ่มกันสู้พวกจีนอั้งยี่มากขึ้นและอาศัยผ้าประเจียดที่หลวงพ่อแช่มทำขึ้นเป็นเครื่องปลุกขวัญกำลังใจเป็นสำคัญ พวกกรรมกรจีนอั่งยี่เรียกชาวบ้านว่าพวกหัวขาวจนกระทั่งสามารถไล่่พวกจีนอั้งยี่จนไม่กล้าเข้ามาปล้นหมู่บ้านฉลองได้อีก พวกอั่งยี่ได้แต่ตั้งค่าหัวหลวงพ่อแช่ม ถึง 1,000 เหรียญ ในปีต่อมา (พ.ศ. 2420) เมื่อทางการปราบปรามจีนอั้งยี่ภูเก็ตจนราบคาบแล้ว คณะกรมการเมืองภูเก็ตได้ยกความดีความชอบส่วนหนึ่งในการปราบกบฏอั้งยี่ครั้งนี้ให้แก่หลวงพ่อแช่ม และเวลานั้นตำแหน่งพระครูสังฆปาโมกข์เมืองภูเก็ตยังว่างอยู่ พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวจึงทรงพระกรุณาโปรดแต่งตั้งให้หลวงพ่อแช่มเป็นพระครูสังฆปาโมกข์เมืองภูเก็ตสูงสุดเท่าที่พึงมี สมณศักดิ์ที่ "พระครูวิสุทธิวงศาจารย์ญาณมุนี"และได้พระราชทานนามวัดฉลองใหม่ว่า "วัดไชยธาราราม" หลวงพ่อแช่มได้รับพระราชทานตาลปัตรสมณศักดิ์พัดยศเทียบเท่าชั้นสมเด็จเจ้าบรรดาพี่น้องชาวภูเก็ตในช่วงสมัยนั้นต่างเรียกว่าหลวงพ่อแช่มว่าพ่อท่านสมเด็จเจ้าตั้งแต่นั้นเป็นต้นมา อนึ่งจากเหตุจลาจลอั้งยี่ดังกล่าว ทำให้ชาวเมืองภูเก็ตเชื่อว่า ที่ชาวบ้านฉลองรบชนะพวกวุ่นจีน เพราะท่านพระครูวัดฉลองมีอิทธิฤทธิ์ในทางวิทยาคม จึงนับถือกันว่าท่านเป็นเกจิอาจารย์สำคัญคนหนึ่งมานับแต่นั้น และอีกเรื่องขอปิดทองที่หน้าแข้งมีที่มาที่พิสดาร คือชาวเรือภูเก็ต ออกเรือหาปลาเกิดพายุกลางทะเลบ้าครั่งใครนับถืออะไรก็ต่างกันบนบานต่อเทพเทวาอารักษ์ก็ไม่เป็นผล มีคนหนึ่งในกลุ่มที่เคารพนับถือหลวงพ่อแช่มเป็นอันมากได้บนต่อหลวงพ่อวัดฉลอง ถ้ารอดชีวิตกลับไปได้จะขอปิดทองที่องค์หลวงพ่อวัดฉลอง พอบนได้ไม่นานพายุสงบลงอย่างปาฎิหารย์ครั้นนำเรือเข้ามาฝั่งก็ไปเล่าให้หลวงปู่ได้ฟังและขออนุญาติปิดทองแก้สินบนแต่หลวงปู่ตอนแรกก็ไม่ยอม หลวงปู่บอกข้าไม่ได้เป็นพระพุทธรูปมาทำแบบนี้ไม่ได้คนหาปลาก็ไม่ยอม ถ้าผมไม่ได้แก้สินบนนี้ถ้าผมเป็นอะไรไปผมเจ็บป่วยล้มตายไป หลวงปู่จะว่าอย่างไร ท่านก็กลัวแรงสินบนจะเป็นจริงจึงยอมให้คนหาปลาปิดทองแต่ให้ปิดทองที่หน้าแข้งแทน เป็นที่เลื่องลือเป็นที่เอาอย่างจนทั่วเมืองภูเก็ตและหัวเมืองใกล้เคียงจนเป็นธรรมเนียมพอหลวงปู่ออกไปไหนก็มีคนมาคอยรอปิดทองที่หน้าแข้งหลวงปู่ เกียรติคุณของหลวงปู่ขจรไกลเมื่อครั้นเมื่อสมเด็จกรมพระยาดำรงราชานุภาพ ทรงนิพนธ์หลวงพ่อแช่ม วัดฉลองเมื่อลงไปเสด็จตรวจราชการมณฑลภูเก็ตครั้งแรก ในปี พ.ศ. 2441ว่าทรงพบพระครูวัดฉลองก็พิศวงศ์ ที่น่าแข้งปิดทองคำเปลวราวกับพระพุทธรูป ก็ได้สอบถามถึงมูลเหตุกับหลวงปู่ว่าเรื่องนี้เป็นจริงอย่างที่ร่ำลือไหม หลวงปู่ก็ไม่ได้พูดอะไรได้แต่ยิ้มๆเป็นนัยๆ เป็นพระภิกษุองค์แรกของประเทศไทยที่มีการแก้บนปิดทองในขณะที่ยังมีชีวิตอยู่ ความเคารพนับถือแผ่ขยายไปไกลยันถึงเมืองปีนังเป็นอาณาเขตของอังกฤษ ชาวพุทธที่สร้างวัดที่เมืองปีนังหลายวัดและได้นิมนต์พระสงฆ์ไปจำพรรษาที่วัดในเมืองปีนังแต่ไม่มีพระเถระผู้ใหญ่นับถือสูงสูดชาวพุทธในเมืองปีนังทั้งฝ่ายบรรพชิตและคฤหัสจึงได้ยกหลวงพ่อแช่มวัดฉลอง เป็นมหาเถระของเมืองปีนัง ถ้ามีการสร้างโบสถ์ใหม่นิมนต์ท่านไปผูกพันธะสีมา หากบวชนาคก่อนเข้าพรรษานิมนต์ท่านเป็นพระอุปัชฌาย์ แม้แต่ในหมู่สงฆ์ถ้าหากเกิดอธิกร หลวงปู่ก็ไปตัดสินคำตัดสินของหลวงปู่ถือว่าเป็นที่สิ้นสุด

พระครูวิสุทธิวงศาจารย์ญาณมุนี (แช่ม) ถึงแก่มรณภาพด้วยอาการอาพาธเป็นอุจจาระธาตุพิการ เมื่อวันที่ 18 เมษายน พ.ศ. 2451 ได้มีการส่งหีบเพลิงไปพระราชทานเพลิงศพที่ภูเก็ต พร้อมเงิน 100 เฟื้อง ผ้าขาว 2 พับ เพื่อใช้ในการพระราชทานเพลิงศพตามธรรมเนียมเมื่อวันที่ 5 เมษายน พ.ศ. 2452 วันเวลาล่วงเลยผ่านมาหลวงพ่อแช่มได้ละสังขารจากโลกนี้ไปแล้วแต่ศรัทธามหาชนยังมิได้เสือมคลายยังคงเป็นตำนานหลายต่อหลายเรื่องเล่ามาจนมิได้จบสิ้น

 
พระเครื่องอื่น ๆ ในหมวด
รูปถ่ายครูบาเจ้าศรีวิชัย วัดพระสิงห์ จ.เชียงใหม่
รูปถ่ายครูบาเจ้าศรีวิชัย วัดพระสิงห์ จ.เชียงใหม่

฿ พระโชว์ เช่าพระเครื่อง รายละเอียด

ล็อกเก็ตหลวงปู่แหวน วัดดอยแม่ปั๋ง จ.เชียงใหม่
ล็อกเก็ตหลวงปู่แหวน วัดดอยแม่ปั๋ง จ.เชียงใหม่

฿ พระโชว์ เช่าพระเครื่อง รายละเอียด

รูปถ่ายพ่อท่านมหาลอย วัดแหลมจาก จ.สงขลา
รูปถ่ายพ่อท่านมหาลอย วัดแหลมจาก จ.สงขลา

฿ พระโชว์ เช่าพระเครื่อง รายละเอียด

ีีรูปถ่ายหลวงพ่อเต่า วัดน้ำพุสิทธาราม จ.อ่างทอง
ีีรูปถ่ายหลวงพ่อเต่า วัดน้ำพุสิทธาราม จ.อ่างทอง

฿ พระโชว์ เช่าพระเครื่อง รายละเอียด

พระแผ่นปูนบูชาเขียนสีครูบาเจ้าศรีวิชัย จ.เชียงใหม่
พระแผ่นปูนบูชาเขียนสีครูบาเจ้าศรีวิชัย จ.เชียงใหม่

฿ พระโชว์ เช่าพระเครื่อง รายละเอียด

 
ตะกร้าพระเครื่อง

ดูตะกร้าพระเครื่อง
แจ้งการชำระเงิน
ตรวจสอบวันจัดส่ง
สถานะการส่งพระเครื่อง

พระเครื่องแนะนำ

เสือหลวงพ่อปาน วัดบางเหี้ย ศิลป์วัดกลาง จ.สมุทรปราการ  

พระโชว์ บาท


สิงห์หน้าโบสถ์หลวงปู่ยิ้ม วัดหนองบัว จ.กาญจนบุรี  

พระโชว์ บาท


ตะกรุดโสฬสมงคลหลวงปู่เอี่ยม วัดสะพานสูง ตะกั่วถ้ำชา จ.นนทบุรี  

พระโชว์ บาท


เสือหลวงพ่อปาน วัดบางเหี้ย พิมพ์พิเศษ(หน้าหมา) จ.สมุทรปราการ  

พระโชว์ บาท


กะลาราหูหลวงพ่อน้อย วัดศีรษะทอง จ.นครปฐม  

พระโชว์ บาท


เบี้ยแก้หลวงปู่รอด วัดนายโรง ลูกที่ 2  

พระโชว์ บาท


หนุมานหลวงปู่บุญ วัดกลางบางแก้ว จ.นครปฐม  

พระโชว์ บาท


เสือหลวงปู่บุญ วัดกลางบางแก้ว จ.นครปฐม  

พระโชว์ บาท


เบี้ยแก้หลวงปู่รอด วัดนายโรง ลูกที่ 1  

พระโชว์ บาท


พระเครื่องแนะนำทั้งหมด
เปิดโลกพระเครื่อง
เปิดโลกสมเด็จ
เปิดโลกพระกรุ
ทำเนียบสมเด็จพระสังฆราชไทย
ตำนานพระพุทธรูป
หลักการดูพระเบื้องต้น
รายนานเกจิอาจารย์
อ่านบทความทั้งหมด