พระเครื่องทั้งหมด 964 ชิ้น 
     ตะกร้าพระเครื่อง : (0) 
ประเภทพระเครื่อง
ภาพวาดผลงานศิลปิน,รูปถ่ายเก่าซีเปีย (130) พระกริ่ง รูปหล่อ เหรียญหล่อ (81) เหรียญพระพุทธ เหรียญเกจิ เหรียญที่ระลึก (35) เครื่องราง (182) พระปิดตาเนื้อโลหะ,ผงคลุกรักษ์ (35) พระเนื้อผง ดิน ว่าน (59) พระบูชา (104) หนังสือพระ (1) ศาสตราวุธโบราณ (43) อนุรักษ์พระกรุ (13) พระเครื่องเรื่องเล่าตำนานสายเหนียว (7)
เมนูช่วยเหลือ
วิธีการสั่งซื้อ
วิธีการชำระเงิน
คำถาม-ตอบ
เงื่อนไขการสั่งซื้อ
เกี่ยวกับเรา
ติดต่อเรา
พระเครื่องที่บูชาแล้ว
พระใหม่ 100 รายการ
โปรโมชั่นพิเศษ
สถิติสินค้า
พระเครื่องทั้งหมด 964 ชิ้น
พระเครื่องถูกจองแล้ว 7 ชิ้น
พระเครื่องบูชาแล้ว 2 ชิ้น
พระเครื่องคงเหลือ 681 ชิ้น
บทความน่าอ่าน
ถูกจริงแท้ แท้หรือเปล่า?
ต่อพระน่าเกลียดไปมั้ย?
ไม่มีกล้องห้ามดู ไปไกล ๆ
ทำไมไม่รับ? พกง.เก็บเงินปลายทาง
ประวัติผู้สร้างพระเครื่อง
หลวงพ่อจวน วัดหนองสุ่ม
หลวงปู่ครีพ วัดสมถะ
หลวงพ่อโต วัดเนิน
หลวงปู่ภู่ วัดนอก
หลวงพ่อรวย วัดท่าเรือแกลง
หลวงพ่อหิน วัดหนองสนม
หลวงพ่อขัน วัดนกกระจาบ
หลวงพ่อพุธ วัดป่าสาลวัน
หลวงพ่อสนิท วัดลำบัวลอย
หลวงปู่กงมา วัดดอยธรรมเจดีย์
หลวงปู่เจี๊ยะ วัดภูริทัตตปฏิปทาราม
หลวงปู่เผือก วัดสาลีโขภิตาราม
หลวงปู่เหรียญ วัดบางระโหง
หลวงปู่เหมือน วัดโรงหีบ
หลวงพ่อเส็ง วัดประจันตคาม
ประวัติผู้สร้างทั้งหมด
อัตราแลกเปลี่ยน
ราคาน้ำมัน
ชำระผ่านธนาคาร
 ไทยพาณิชย์ 136-232797-4  กสิกร 735-2-43729-2  กรุงเทพ 009-006097-1  กรุงไทย 086-0-22285-3
 
 
รายละเอียดเพิ่มเติม

พระเครื่อง ศักดิ์ตลิ่งชัน


พระเครื่อง อีซี่อมูเล็ต


พระ พระเครื่อง พระแท้
 
พระเครื่อง : รูปถ่ายหลวงพ่อหรุ่น วัดอัมพวัน รูปที่ 2
รูปถ่ายหลวงพ่อหรุ่น วัดอัมพวัน รูปที่ 2
พระเครื่องเลขที่ : 284

รูปถ่ายหลวงพ่อหรุ่น วัดอัมพวัน รูปที่ 2


ผู้สร้าง :
ออกที่ :
ปี พ.ศ :

ราคาเช่าบูชา : พระโชว์ บาท
ราคาค่าจัดส่ง : ฟรี บาท (EMS)

เช่าพระเครื่อง    สอบถามเพิ่มเติม


โทร. 089-9799425

 
รูปประกอบพระเครื่อง
รูปถ่ายหลวงพ่อหรุ่น วัดอัมพวัน รูปที่ 2
รูปถ่ายหลวงพ่อหรุ่น วัดอัมพวัน รูปที่ 2

 
รายละเอียดพระเครื่อง

รูปถ่ายหลวงพ่อหรุ่น วัดอัมพวัน กทม. ปี 2470 เจ้าสำนักเก้ายอดอันลือลั่นในอดีต เหรียญของท่านหายากแล้วแต่รูปถ่ายท่านหายากยิ่งกว่า เป็นภาพที่ถ่ายที่สวนสัตว์ดุสิต(เขาดิน) บริเวณน้ำตกเก่า ปัจจุบันถูกรื้อไปหมดแล้ว ขอกล่าวถึงประวัติหลวงพ่อหรุ่น ก่อนจะเข้าสู่ลมกาสาวพัสตร์ ในบรรดานักเลงหรือไอ้เสือสมัยก่อนที่มีชื่อเสียงโด่งดัง เห็นจะไม่มีใครเกินเสือหรุ่น ใจภาราแห่งจังหวัดพระนครศรีอยุธยาและจังหวัดใกล้เคียง ต่างถูกเสือหรุ่น ใจภารา ปล้นและฆ่ามากต่อมาก ทั้งตำรวจและเจ้าหน้าที่บ้านต่างใช้ความพยายามเป็นอย่างยิ่งในการจับเป็นเสือหรุ่นให้ได้ จนแล้วจนรอดก็ไม่สามารถจับได้ แม้ว่าบางครั้งได้ล้อมไว้อย่างเข้มแข็งก็ตามเมื่อตำรวจเห็นว่าไอ้เสือหรุ่นไม่อาจจับเป็นได้ จึงสั่งให้จับตายทันที แต่ก็ปรากฎว่าลูกกระสุนปืนนับเป็นสิบเป็นร้อยนัดไม่เคยระคายผิวหนังเสือหรุ่นได้เลย และเสือหรุ่นก็สามารถแหวกวงล้อมตำรวจหนีไปได้ทุกครั้ง ทั้งนี้เพราะว่าเสือหรุ่นสำเร็จวิชาผูกหุ่นลวงตาได้นั้นเอง ในที่สุดเจ้าหน้าที่บ้านเมืองต่างเห็นพ้องต้องกันว่า ควรประกาศไม่เอาโทษเสือหรุ่น ใจภารา เพราะทางการยังต้องการเสือหรุ่นไว้ใช้ในราชการในฐานะที่มีความสามารถพิเศษในทางเวทย์มนต์คาถา ส่วนเสือหรุ่น ใจภาราก็เริ่มได้คิดและปลงตกถึงแก่นสาระแห่งชีวิตเกี่ยวกับการเกิด แก่ เจ็บ และตาย อันเป็นวัฐจักรแห่งชีวิตที่ไม่เที่ยงแท้ ประกอบกับเล็งเห็นวิถีชีวิตของตนเองที่ก่อกรรมทำเข็ญไว้มาก จึงกลับตัวเลิกเป็นไอ้เสือ ตั้งใจทำคุณงามความดีและได้รับการแต่งตั้งให้เป็นผู้ใหญ่บ้านและกำนันในตำบลเชียงรากในเวลาต่อมา ด้วยความตั้งใจทำคุณงามความดีนั่นเอง กำนันหรุ่น ใจภาราจึงได้รับพระราชทานยศเป็นขุนกาวิจล ใจภารา ท่านขุนกาวิจล ใจภาราพยายามปราบผู้เป็นภ้ยแก่่ประชาชนในท้องที่ที่ตนปกครองอยู่ แต่ถึงกระนั้นก็ตามเมื่อมีการปล้นที่บ้านใดก็ตามมักฆ่าเจ้าทรัพย์พร้อมกับบอกว่าเป็นสมุนของขุนกาวิจล ทำให้ทางราชการหันมาติดตามการเคลื่อนไหวของขุนกาวิจล ใจภารา แต่ก็ไม่ได้ความอะไรนักขุนกาวิจล เริ่มเห็นว่าชีวิตของการเป็นกำนัน เมื่อทำคุณงามความดี ยังมีผู้อื่นเอาชื่อของตนไปแอบอ้างในการปล้นอยู่ทุกครั้ง จึงเกิดความเบื่อหน่ายในชีวิตของเพศฆราวาส ทั้งที่มีภรรยาถึง 4 คนก็ตามจึงหันมาดำเนินรอยตามพระพุทธองค์ หนีเข้ามาอยู่กรุงเทพฯ และบวชจำพรรษาอยู่ ณ ที่วัดอัมพวัน ต.นครไชยศรี อ.ดุสิต กรุงเทพฯ นั่นเอง เมื่อลูกศิษย์ที่เคารพนับถือต่างทราบข่าว ก็พากันมาของเครื่องรางของขลังจากหลวงพ่อหรุ่น ในสมัยนั้นของขลังที่มีชื่อเสียงโด่งดังของหลวงพ่อหรุ่นก็คือ ตะกรุดกระดูกแร้ง และการสักที่หลังมีพุทธคุณเป็นมหาอุตม์ทางคงกระพันชาตรี และเป็นนิยมชมชอบของพวกนักเลงจนได้สมญานามว่าเก้ายอด   ซึ่งเป็นก๊กนักเลงที่มีการสักที่แผ่นหลังเป็นสัญลักษณ์ทุกๆ คน หลวงพ่อหรุ่นอยู่ในบวรพุทธศาสนาได้ประมาณ 35 พรรษาก็ได้ถึงแก่มรณภาพเมื่อปี พ.ศ. 2471 ณ วัดอัมพวัน รวมอายุได้ประมาณ 81 ปี เป็นภาพอิริยาบถเดียวที่ท่านทิ้งไว้ ให้อนุชนรุ่นหลังได้รู้ถึงตัวตนของท่าน

 
พระเครื่องอื่น ๆ ในหมวด
รูปถ่ายหลวงพ่อเงิน วัดดอนยายหอม จ.นครปฐม
รูปถ่ายหลวงพ่อเงิน วัดดอนยายหอม จ.นครปฐม

฿ พระโชว์ เช่าพระเครื่อง รายละเอียด

รูปถ่ายซีเปียหลวงพ่อแก้ว วัดนางสาว จ.สมุทรสาคร
รูปถ่ายซีเปียหลวงพ่อแก้ว วัดนางสาว จ.สมุทรสาคร

฿ พระโชว์ เช่าพระเครื่อง รายละเอียด

ภาพวาดมังกรคู่ อาจารย์อังคาร กัณยาณพงศ์
ภาพวาดมังกรคู่ อาจารย์อังคาร กัณยาณพงศ์

฿ โชว์ เช่าพระเครื่อง รายละเอียด

ผลงานปั้นหน้ากากเด็ก อ.ประยุทธ ฟักผล
ผลงานปั้นหน้ากากเด็ก อ.ประยุทธ ฟักผล

฿ โชว์ เช่าพระเครื่อง รายละเอียด

รูปถ่ายซีเปียครูบาศรีวิชัย วัดพระเจ้าตนหลวง จ.พะเยา  พ.ศ.2467
รูปถ่ายซีเปียครูบาศรีวิชัย วัดพระเจ้าตนหลวง จ.พะเยา พ.ศ.2467

฿ พระโชว์ เช่าพระเครื่อง รายละเอียด

 
ตะกร้าพระเครื่อง

ดูตะกร้าพระเครื่อง
แจ้งการชำระเงิน
ตรวจสอบวันจัดส่ง
สถานะการส่งพระเครื่อง

พระเครื่องแนะนำ

เสือหลวงพ่อปาน วัดบางเหี้ย ศิลป์วัดกลาง จ.สมุทรปราการ  

พระโชว์ บาท


สิงห์หน้าโบสถ์หลวงปู่ยิ้ม วัดหนองบัว จ.กาญจนบุรี  

พระโชว์ บาท


ตะกรุดโสฬสมงคลหลวงปู่เอี่ยม วัดสะพานสูง ตะกั่วถ้ำชา จ.นนทบุรี  

พระโชว์ บาท


เสือหลวงพ่อปาน วัดบางเหี้ย พิมพ์พิเศษ(หน้าหมา) จ.สมุทรปราการ  

พระโชว์ บาท


กะลาราหูหลวงพ่อน้อย วัดศีรษะทอง จ.นครปฐม  

พระโชว์ บาท


เบี้ยแก้หลวงปู่รอด วัดนายโรง ลูกที่ 2  

พระโชว์ บาท


หนุมานหลวงปู่บุญ วัดกลางบางแก้ว จ.นครปฐม  

พระโชว์ บาท


เสือหลวงปู่บุญ วัดกลางบางแก้ว จ.นครปฐม  

พระโชว์ บาท


เบี้ยแก้หลวงปู่รอด วัดนายโรง ลูกที่ 1  

พระโชว์ บาท


พระเครื่องแนะนำทั้งหมด
เปิดโลกพระเครื่อง
เปิดโลกสมเด็จ
เปิดโลกพระกรุ
ทำเนียบสมเด็จพระสังฆราชไทย
ตำนานพระพุทธรูป
หลักการดูพระเบื้องต้น
รายนานเกจิอาจารย์
อ่านบทความทั้งหมด